วันอังคารที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
On 02:56 by EForL in การดูคน No comments
มีคำกล่าวว่า “หนทางพิสูจน์ม้า
กาลเวลาพิสูจน์คน” การที่จะรู้จักเข้าใจใครสักคนหนึ่ง
เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลา
เพราะจิตมนุษย์ยากแท้หยั่งถึง มีความลึกลับเป็นปริศนาซุกว่อนอยู่มากมาย ทำให้บางทีแม้แต่ตนเองก็ยังไม่เข้าใจกระจ่างในตัวเองสักเท่าไหร่ ดังนั้นการทำความรู้จักผู้อื่นจึงจำเป็นต้องอาศัยเวลา
และยังต้องมีเหตุการณ์ที่เหมาะสมเป็นเครื่องพิสูจน์อีกด้วย ซึ่งในพระพุทธศาสนา ได้สอนวิธีดูคนไว้ใน
สัตตชฎิลสูตร ดังนี้
๑) ศีลพึงรู้ได้ด้วยการอยู่ร่วมกัน
ศีลนั้นจะพึงรู้ได้ด้วยกาลเล็กน้อย
ผู้ใส่ใจจึงจะรู้ได้
ผู้ไม่ใส่ใจรู้ไม่ได้
ผู้มีปัญญาจึงจะรู้ได้
ผู้ไม่มีปัญญารู้ไม่ได้
๒) ความสะอาดจะพึงรู้ได้ด้วยการงาน
๓) กำลังใจจะพึงรู้ได้ในคราวมีอันตราย
๔) ปัญญาจะพึงรู้ได้ด้วยการสนทนา
การดูคนออกแม้จะเป็นสิ่งที่ยากต้องอาศัยความช่างสังเกต และการฝึกฝนเป็นเวลานาน
แต่ก็มีวิธีลัด คือ ดูตนเองให้ออกเสียก่อน โดยการฝึกเอาใจเขามาใส่ใจเรา เช่น เราไม่ชอบอะไรคนอื่นก็ไม่ชอบสิ่งนั้นเหมือนกัน
เมื่อเรารู้จักรู้เท่าทันจิตใจตนเองได้
ก็จะสามารถ “ทันโลก ทันคน” ได้ไม่ยาก
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Search
สนับสนุนผู้เขียน
บทความยอดนิยม
-
ถ้ามนุษย์ทุกคนในโลกรู้ว่าผลแห่ง "ทาน" ที่ตนให้จะส่งผลมากมายขนาดไหน ความ "ตระหนี่" จะไม่เกิดขึ้นในใจของใครๆ เลยแม้แต่น...
-
ศาสนาทุกศาสนา แต่เดิมล้วนมุ้งสอนให้มวลมนุษยชาติอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ปราศจากการประทุษร้ายซึ่งกันและกัน และสอนให้รู้ถึงเป้าหมายที่แท้จริงขอ...
-
เวลาขึ้นบ้านใหม่ หรือมีงานมงคลพิธีต่าง ๆ คนไทยมักจะนิมนต์พระมาสวดเจริญพระพุทธมนต์เพื่อความเป็นสิริมงคล ก่อนกลับหลวงปู่ หลวงพ่อก็มักจะเขียนค...
-
ในกาลนานมาแล้ว เศรษฐีผู้หนึ่งมีภรรยาเป็นหมัน ต่อมาเขาได้นำหญิงอีกคนหนึ่งมาเป็นภรรยา เหตุการณ์โกลาหลเกิดขึ้นเมื่อภรรยาน้อยตั้งท้อง วัน...
-
สรรพสิ่งทั้งหลายในโลกนี้ล้วนมีวิวัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงเพื่อความอยู่รอดของเผ่าพันธุ์ให้สามารถอยู่ได้ยาวนานมากที่สุด พระพุท...
-
การสังคายนาครั้งที่ 3 การสังคายนาครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ พ . ศ . 236 มีปรากฏในอรรถกถา มหาวิภังค์ (วิ.มหา. อ. (ไทย) 1/ 93-11...
-
ผู้ที่ขัดขวางการให้ทานของผู้อื่นได้ชื่อว่าทำความเสื่อม ให้เกิดขึ้นแก่บุคคลถึง 3 คน ได้แก่ 1) ทำความเสื่อมให้เกิดขึ้นแก่ผู้ตั้งใจ...
-
1. เหตุใดคุณมีเสื้อผ้าแพรพรรณอันงดงามสวมใส่มากมาย เพราะชาติก่อนคุณเคยถวายจีวรแด่พระสงฆ์ 2. เหตุใดชาตินี้คุณมีอาหารดีดีรับประทานอย...
-
การสังคายนาครั้งที่ 1 การสังคายนาในครั้งพุทธกาลมีปรากฏในสังคีติสูตร (ที.ปา. (ไทย) 10/ 296-349/ 247-366 ) กล่าวไว้ว่า พระสารีบุตรได...
-
พระพุทธศาสนานิกายมหายานนั้นมีพัฒนาการเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตั้งสมัยพุทธกาลจนกระทั่งมาถึงปัจจุบัน สอดคล้องกับประยงค์ แสนบุราญ ได้กล่าวไว้ว...
บทความทั้งหมด
-
►
2016
(36)
- ► กุมภาพันธ์ (1)
สถิติผู้เข้าชม
ติดตามผู้เขียน
ฟอร์มรายชื่อติดต่อ
ติดตามที่ Facebook
Tags
ขับเคลื่อนโดย Blogger.
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น