วันเสาร์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2559
หลังพุทธปรินิพพานได้ไม่กี่เดือน พระอานนท์ได้พาลูกศิษย์ของท่านประมาณ
30 รูป
เดินทางไปตามเมืองต่าง ๆ เพื่อปลอบประโลมใจพุทธบริษัทสี่ที่ยังเป็นเป็นปุถุชนอยู่
ให้หายจากความอาลัยต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เดินทางไปตามเมืองต่าง ๆ เพื่อปลอบประโลมใจพุทธบริษัทสี่ที่ยังเป็นเป็นปุถุชนอยู่
ให้หายจากความอาลัยต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
พอกลับมาถึงวัดเวฬุวันฯ พระอานนท์รีบเข้าไปพบพระมหากัสสปะ
พร้อมกับเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นระหว่างที่เดินทางไปตามเมืองต่าง ๆ ว่า
ลูกศิษย์ที่เดินทางไปด้วยกันครั้งนี้ ได้ลาสิกขาไปหมดแล้ว
เมื่อพระมหากัสสปะได้ยินดังนั้นก็ตำหนิพระอานนท์ว่า
"พระอานนท์โตแต่ร่างกาย แต่ยังทำตัวเหมือนเด็ก"
พร้อมกับเล่าเรื่องที่เกิดขึ้นระหว่างที่เดินทางไปตามเมืองต่าง ๆ ว่า
ลูกศิษย์ที่เดินทางไปด้วยกันครั้งนี้ ได้ลาสิกขาไปหมดแล้ว
เมื่อพระมหากัสสปะได้ยินดังนั้นก็ตำหนิพระอานนท์ว่า
"พระอานนท์โตแต่ร่างกาย แต่ยังทำตัวเหมือนเด็ก"
ขณะที่พระมหากัสสปะตำหนิพระอานนท์อยู่นั้น มีภิกษุณีรูปหนึ่งยังไม่ได้บรรลุธรรมขั้นไหน
ชื่อถุลลนันทา นั่งอยู่ใกล้ ๆ บริเวณนั้น พอได้ยินคำตำหนิเช่นนั้น
ด้วยความที่นางไม่เข้าใจ
ธรรมเนียมปฏิบัติของพระภิกษุ จึงตะโกนต่อว่าพระมหากัสสปะทันทีว่า
"อะไรเล่าพระผู้เป็นเจ้ามหากัสปะ ผู้เคยเป็นอัญญเดียรถีย์
จะมากล่าวหาพระอานนท์ของพวกดิฉันว่าเป็นเด็กได้อย่างไร"
จะมากล่าวหาพระอานนท์ของพวกดิฉันว่าเป็นเด็กได้อย่างไร"
ฝ่ายพระมหากัสสปะท่านก็นิ่ง ๆ แล้วพูดบอกกับพระอานนท์ไปว่า
"อานนท์ผู้มีอายุ ภิกษุณีถุลลนันทายังไม่ทันพิจารณา ก็กล่าววาจา
พล่อย ๆ ซะแล้ว ...ผู้ใดยังไม่ทราบชัดถึงคุณธรรมของเรา
แล้วมาพูดว่ารู้
ยังไม่เห็น แต่มาพูดว่าเห็น ศีรษะของบุคคลนั้นจะต้องแตกออกเป็นเจ็ดเสี่ยง"
ยังไม่เห็น แต่มาพูดว่าเห็น ศีรษะของบุคคลนั้นจะต้องแตกออกเป็นเจ็ดเสี่ยง"
ด้วยผลแห่งกรรมที่นางภิกษุณีถุลลนันทาได้กล่าวไปโดยไม่คิดเช่นนี้
ทำให้นางต้องรีบมาขอขมาโทษต่อพระมหากัสสปะ
เพื่อไม่ให้ศีรษะต้องแตกออกไปเจ็ดเสี่ยง แล้วต้องพ้นจากความเป็นภิกษุณีไปในที่สุด
ทำให้นางต้องรีบมาขอขมาโทษต่อพระมหากัสสปะ
เพื่อไม่ให้ศีรษะต้องแตกออกไปเจ็ดเสี่ยง แล้วต้องพ้นจากความเป็นภิกษุณีไปในที่สุด
ปัจจุบันเราได้เห็นข่าวเกี่ยวกับพระสงฆ์องค์เจ้าแทบจะทุกวัน
บางทีพระก็ก่อเหตุเกินกว่าที่โยมจะรับได้จริง ๆ
แต่บางทีพระไม่ทำอย่างที่เป็นข่าว อาจจะเกมส์การเมืองของผู้มีอำนาจ
แต่สื่อได้พาดหัวข่าวกล่าวหาพระไปเรียบร้อยแล้ว ทำให้คนทั่วไปที่ยังขาดวิจารณญาณอยู่
ด่าพระสงฆ์องค์เจ้าแบบเสีย ๆ หาย ๆ
และที่สำคัญคือคนชอบเหมารวมว่าพระทั้งหมดก็คงเป็นอย่างนี้
ครั้นจะออกไปแก้ข่าวก็หาว่า
เป็นพวกเดียวกัน ไม่น่าเชื่อถือ
ที่น่าสงสัยอีกอย่างหนึ่งคือ
บางทีพระก็ก่อเหตุเกินกว่าที่โยมจะรับได้จริง ๆ
แต่บางทีพระไม่ทำอย่างที่เป็นข่าว อาจจะเกมส์การเมืองของผู้มีอำนาจ
แต่สื่อได้พาดหัวข่าวกล่าวหาพระไปเรียบร้อยแล้ว ทำให้คนทั่วไปที่ยังขาดวิจารณญาณอยู่
ด่าพระสงฆ์องค์เจ้าแบบเสีย ๆ หาย ๆ
และที่สำคัญคือคนชอบเหมารวมว่าพระทั้งหมดก็คงเป็นอย่างนี้
ครั้นจะออกไปแก้ข่าวก็หาว่า
เป็นพวกเดียวกัน ไม่น่าเชื่อถือ
ที่น่าสงสัยอีกอย่างหนึ่งคือ
พระสงฆ์ไทยกับชาวพุทธที่ดี ๆ นี่มันก็แปลกอยู่เรื่องหนึ่ง ไม่ค่อยพูด
ไม่พูด
ไม่ประณาม ไม่ออกมาชี้แจง
เราจึงเห็นการแสดงความคิดของคนที่ไม่มีศีลธรรม แต่อวดตัวว่ารู้ดีเรื่องพระมาพูดกันเต็มไปหมด
ไม่ประณาม ไม่ออกมาชี้แจง
เราจึงเห็นการแสดงความคิดของคนที่ไม่มีศีลธรรม แต่อวดตัวว่ารู้ดีเรื่องพระมาพูดกันเต็มไปหมด
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Search
สนับสนุนผู้เขียน
บทความยอดนิยม
-
ถ้ามนุษย์ทุกคนในโลกรู้ว่าผลแห่ง "ทาน" ที่ตนให้จะส่งผลมากมายขนาดไหน ความ "ตระหนี่" จะไม่เกิดขึ้นในใจของใครๆ เลยแม้แต่น...
-
ศาสนาทุกศาสนา แต่เดิมล้วนมุ้งสอนให้มวลมนุษยชาติอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข ปราศจากการประทุษร้ายซึ่งกันและกัน และสอนให้รู้ถึงเป้าหมายที่แท้จริงขอ...
-
เวลาขึ้นบ้านใหม่ หรือมีงานมงคลพิธีต่าง ๆ คนไทยมักจะนิมนต์พระมาสวดเจริญพระพุทธมนต์เพื่อความเป็นสิริมงคล ก่อนกลับหลวงปู่ หลวงพ่อก็มักจะเขียนค...
-
ในกาลนานมาแล้ว เศรษฐีผู้หนึ่งมีภรรยาเป็นหมัน ต่อมาเขาได้นำหญิงอีกคนหนึ่งมาเป็นภรรยา เหตุการณ์โกลาหลเกิดขึ้นเมื่อภรรยาน้อยตั้งท้อง วัน...
-
สรรพสิ่งทั้งหลายในโลกนี้ล้วนมีวิวัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงเพื่อความอยู่รอดของเผ่าพันธุ์ให้สามารถอยู่ได้ยาวนานมากที่สุด พระพุท...
-
การสังคายนาครั้งที่ 3 การสังคายนาครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ พ . ศ . 236 มีปรากฏในอรรถกถา มหาวิภังค์ (วิ.มหา. อ. (ไทย) 1/ 93-11...
-
ผู้ที่ขัดขวางการให้ทานของผู้อื่นได้ชื่อว่าทำความเสื่อม ให้เกิดขึ้นแก่บุคคลถึง 3 คน ได้แก่ 1) ทำความเสื่อมให้เกิดขึ้นแก่ผู้ตั้งใจ...
-
1. เหตุใดคุณมีเสื้อผ้าแพรพรรณอันงดงามสวมใส่มากมาย เพราะชาติก่อนคุณเคยถวายจีวรแด่พระสงฆ์ 2. เหตุใดชาตินี้คุณมีอาหารดีดีรับประทานอย...
-
การสังคายนาครั้งที่ 1 การสังคายนาในครั้งพุทธกาลมีปรากฏในสังคีติสูตร (ที.ปา. (ไทย) 10/ 296-349/ 247-366 ) กล่าวไว้ว่า พระสารีบุตรได...
-
ชาวพุทธเถรวาท คือ ชาวพุทธที่ยึดมั่นในวาทะของพระเถระ ซึ่งก็คือพระอรหันต์ 500 รูป ที่ประชุมกันทำสังคายนาครั้งที่ 1 หลังพุทธปรินิพพาน 3 เดือ...
สถิติผู้เข้าชม
ติดตามผู้เขียน
ฟอร์มรายชื่อติดต่อ
ติดตามที่ Facebook
Tags
ขับเคลื่อนโดย Blogger.
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น